สรุป applet อีกแหล่ง
เธซเธเนเธฒ 1 เธเธฒเธ 1
สรุป applet อีกแหล่ง
Java Applet นั้นเป็นออบเจ็กต์ที่สร้างมาจากคลาส java.applet.Applet
หรือเรียกได้ว่าเป็นคลาสย่อยของมันอีกที โดยตัวคลาส Applet
เองนั้นแท้ที่จริงมีหน้าที่เพียงแค่ใช้ในการสร้างคลาสย่อย
หรือออบเจ็กต์ขึ้นมาไม่ได้ทำอะไรมากกว่านั้น ดีงนืนมันจงเป็นเพียงแค่พื้นที่ว่าง ๆ
บนหน้าจอที่ไม่มีการตอบสนองใด ๆ
การจะสร้าง Applet ที่มีประโยชน์ขึ้นมานั้น
โปรแกรมเมอร์จะตอ้งเพิ่มเติมคลาสย่อยซึ่งขยายมาจากคลาส Applet มีรูปแบบคือ
หลังจากที่เพิ่มคลาสย่อยเข้าไปในคลาสที่สร้างจาก Applet แล้ว
เราจะได้เมธอดต่าง ๆ ที่ถูกกำหนดไว้ในคลาส Applet
ตามกฎการถ่ายทอดโดยจะมีบางเมธอดที่เราสามารถใส่คำสั่งต่าง ๆ ลงไป
ขณะที่บางเมธอดเราก็ไม่ได้ทำอะไรกับมันเลย
เนื่องจาก Applet นั้นไม่ได้เป็นโปรแกรมชนิด stand-alone
หรือประมวลผลได้อิสระ เพราะฉะนั้นจึงมีความแตกต่างบ้าง
แต่ก็ยังคงใช้หลักการเดียวกันกับ Application
Applet นั้นมีเมธอดอยู่หลายเมธอดที่ทำหน้าที่เหมือนกับ main()
ซึ่งเมธอดที่ว่า ได้แก่
เมธอด paint()
เป็นหนึ่งในเมธอดที่ถูกกำหนดในคลาส Applet
แต่ไม่ได้ทำอะไรเลย มีไว้สำหรับเมื่อต้องการให้ Applet
แสดงอะไรขึ้นมาบนหน้าจอไม่ว่าจะเป็นข้อความ รูปภาพ รูปทรงต่าง ๆ
หรืออะไรก็แล้วแต่ โดยสามารถเกดขึ้นกี่ครั้งก็ได้ตลอดช่วงชีวิตของ Applet
(applet life cycle)
เมธอด paint() นี้จะต้องถูกเขียนใหม่ลงไปที่ส่วนของคลาสย่อย Applet
ที่สร้างขึ้นเพื่อให้มีอะไรแสดงไปที่หน้าจอ โดยมีรูปแบบดังนี้
พารามิเตอร์ g ที่มีชนิดเป็นคลาส Graphics จะถูกกำหนดโดยระบบที่เรียกใช้
Applet ซึ่งสำหรับการวาดรูป หรือทำกราฟิกต่าง ๆ บนจาวาส่วนใหญ่ จะถูกทำโดยคลาส
Graphics กล่าวได้อีกนัยหนึ่งก็คือ เมธอด paint() ที่กำหนดใน Applet นี้
ไม่ได้ทำการวาดรูปใดๆ บน Applet เลย ไม่ว่าจะเป็นกล่องข้อความ หรือรูปทรงตาง ๆ
แต่ออบเจ็กต์เหล่านั้นทำการวาดตัวมันเองด้วยการใช้เมธอด paint()
ของมันเองต่างหาก
เมธอด init()
ปกติแล้วในการสร้างออบเจ็กต์ทั่วไป
Constructor จะรับผิดชอบในการกำหนดค่าเริ่มต้นหรือทำการ Initialize
ให้กับออบเจ็กต์นั้น ๆ เสมอ แต่กับ Applet แล้ว สิ่งที่จะทำการ Initialize
Applet กลับไม่ใช่ Constructor แต่เป็นเมธอดที่ชื่อว่า init()
เป็นเมธอดที่จะถูกอ่านโดยระบบเมื่อ Applet ใดๆ ถูกสร้างขึ้น เช่น
ต้องการกำหนดสีที่พื้นหลัง ชนิดของฟอนต์ที่ถูกใช้ข้อความในขณะที่ Applet กำลัง
paint หรือการสร้างปุ่มขึ้นมาบน Applet โดยมีรูปแบบการใช้ดังนี้
เมธอด start()
ปกติแล้ว Applet
จะเริ่มทำงานหลังจากที่การกำหนดค่าเริ่มต้น แต่การเริ่มของ Applet
นั้นสามารถเกิดขึ้นำด้อีกในกรณีที่ก่อนหน้านี้มันถูกบังคับให้หยุด
หรือผู้ใช้กดลิงค์ทำให้หน้าจอปัจจุบันถูกเปลี่ยนจากการรัน Applet
ไปเป็นอย่างอื่น นั่นหมายความว่า เมื่อผู้ใช้กลับมาหน้า Applet อีกครั้ง
มันก็จะเริ่มทำงานใหม่อีกครั้งหรือถูก start ขึ้นใหม่นั่นเอง
(แสดงให้เห็นว่าการเริ่ม Applet
สามารถเกอดขันได้มากกว่าหนึ่งครั้งในช่วงชีวิตของ Applet ) การเขียนทับเมธอด
start() ทำได้ดังนี้ปกติแล้ว Applet
จะเริ่มทำงานหลังจากที่การกำหนดค่าเริ่มต้น แต่การเริ่มของ Applet
นั้นสามารถเกิดขึ้นำด้อีกในกรณีที่ก่อนหน้านี้มันถูกบังคับให้หยุด
หรือผู้ใช้กดลิงค์ทำให้หน้าจอปัจจุบันถูกเปลี่ยนจากการรัน Applet
ไปเป็นอย่างอื่น นั่นหมายความว่า เมื่อผู้ใช้กลับมาหน้า Applet อีกครั้ง
มันก็จะเริ่มทำงานใหม่อีกครั้งหรือถูก start ขึ้นใหม่นั่นเอง
(แสดงให้เห็นว่าการเริ่ม Applet
สามารถเกอดขันได้มากกว่าหนึ่งครั้งในช่วงชีวิตของ Applet ) การเขียนทับเมธอด
start() ทำได้ดังนี้
กระบวนการที่จะใส่ไว้ที่เมธอด start() นี้อาจจะเป็นการส่งข้อความบางอย่าง
เพื่อบอกว่า Applet นี้ยังคงทำงานอยู่
ถ้าไม่จำเป็นต้องทำก็อาจจะไม่ต้องเขียนลงไปก็ได้
เมธอด stop()
การหยุดของ Applet หมายถึง
การที่ผู้ใช้ออกจากหน้าจอปัจจุบันที่กำลังรัน Applet อยู่นั้น หรือการที่
Applet อยู่ตัวมันเองด้วยการเรียกเมธอด stop() โดยตรงมีรูปแบบการใช้ดังนี้
เมธอด destroy()
เป็นการบอกให้ Applet
ทำการล้างหน่วยความจำต่าง ๆ
ให้เป็นเหมือนก่อนที่มันจะใช้เมื่อทากรปิดบราวเซอร์หรือใช้ทำลายเธรดต่าง ๆ
ที่ยังคงทำงานค้างอยู่
ซึ่งโดยทั่วไปการเขียนโปรแกรมในส่วนนี้อาจจะไม่มีความจำเป็นมาก
นอกเสียจากจะต้องการปลดปล่อยทรัพยากรที่มีจำกัด
copy มาจาก http://www.nstlearning.com/~km/?p=4155
หรือเรียกได้ว่าเป็นคลาสย่อยของมันอีกที โดยตัวคลาส Applet
เองนั้นแท้ที่จริงมีหน้าที่เพียงแค่ใช้ในการสร้างคลาสย่อย
หรือออบเจ็กต์ขึ้นมาไม่ได้ทำอะไรมากกว่านั้น ดีงนืนมันจงเป็นเพียงแค่พื้นที่ว่าง ๆ
บนหน้าจอที่ไม่มีการตอบสนองใด ๆ
การจะสร้าง Applet ที่มีประโยชน์ขึ้นมานั้น
โปรแกรมเมอร์จะตอ้งเพิ่มเติมคลาสย่อยซึ่งขยายมาจากคลาส Applet มีรูปแบบคือ
public class YourApplet extends java.applet.Appplet{
//ส่วนของโปรแกรม การทำงาน Applet
}
หลังจากที่เพิ่มคลาสย่อยเข้าไปในคลาสที่สร้างจาก Applet แล้ว
เราจะได้เมธอดต่าง ๆ ที่ถูกกำหนดไว้ในคลาส Applet
ตามกฎการถ่ายทอดโดยจะมีบางเมธอดที่เราสามารถใส่คำสั่งต่าง ๆ ลงไป
ขณะที่บางเมธอดเราก็ไม่ได้ทำอะไรกับมันเลย
เนื่องจาก Applet นั้นไม่ได้เป็นโปรแกรมชนิด stand-alone
หรือประมวลผลได้อิสระ เพราะฉะนั้นจึงมีความแตกต่างบ้าง
แต่ก็ยังคงใช้หลักการเดียวกันกับ Application
Applet นั้นมีเมธอดอยู่หลายเมธอดที่ทำหน้าที่เหมือนกับ main()
ซึ่งเมธอดที่ว่า ได้แก่
เมธอด paint()
เป็นหนึ่งในเมธอดที่ถูกกำหนดในคลาส Applet
แต่ไม่ได้ทำอะไรเลย มีไว้สำหรับเมื่อต้องการให้ Applet
แสดงอะไรขึ้นมาบนหน้าจอไม่ว่าจะเป็นข้อความ รูปภาพ รูปทรงต่าง ๆ
หรืออะไรก็แล้วแต่ โดยสามารถเกดขึ้นกี่ครั้งก็ได้ตลอดช่วงชีวิตของ Applet
(applet life cycle)
เมธอด paint() นี้จะต้องถูกเขียนใหม่ลงไปที่ส่วนของคลาสย่อย Applet
ที่สร้างขึ้นเพื่อให้มีอะไรแสดงไปที่หน้าจอ โดยมีรูปแบบดังนี้
public void pain(Graphics g) {
//โปรแกรม สิ่งที่จะวาดลงไปบน Applet
}
พารามิเตอร์ g ที่มีชนิดเป็นคลาส Graphics จะถูกกำหนดโดยระบบที่เรียกใช้
Applet ซึ่งสำหรับการวาดรูป หรือทำกราฟิกต่าง ๆ บนจาวาส่วนใหญ่ จะถูกทำโดยคลาส
Graphics กล่าวได้อีกนัยหนึ่งก็คือ เมธอด paint() ที่กำหนดใน Applet นี้
ไม่ได้ทำการวาดรูปใดๆ บน Applet เลย ไม่ว่าจะเป็นกล่องข้อความ หรือรูปทรงตาง ๆ
แต่ออบเจ็กต์เหล่านั้นทำการวาดตัวมันเองด้วยการใช้เมธอด paint()
ของมันเองต่างหาก
เมธอด init()
ปกติแล้วในการสร้างออบเจ็กต์ทั่วไป
Constructor จะรับผิดชอบในการกำหนดค่าเริ่มต้นหรือทำการ Initialize
ให้กับออบเจ็กต์นั้น ๆ เสมอ แต่กับ Applet แล้ว สิ่งที่จะทำการ Initialize
Applet กลับไม่ใช่ Constructor แต่เป็นเมธอดที่ชื่อว่า init()
เป็นเมธอดที่จะถูกอ่านโดยระบบเมื่อ Applet ใดๆ ถูกสร้างขึ้น เช่น
ต้องการกำหนดสีที่พื้นหลัง ชนิดของฟอนต์ที่ถูกใช้ข้อความในขณะที่ Applet กำลัง
paint หรือการสร้างปุ่มขึ้นมาบน Applet โดยมีรูปแบบการใช้ดังนี้
public void init() {
// ส่วนของโปรแกรมที่ถูกทำเมื่อ Applet ถูก load ในตอนแรก
}
เมธอด start()
ปกติแล้ว Applet
จะเริ่มทำงานหลังจากที่การกำหนดค่าเริ่มต้น แต่การเริ่มของ Applet
นั้นสามารถเกิดขึ้นำด้อีกในกรณีที่ก่อนหน้านี้มันถูกบังคับให้หยุด
หรือผู้ใช้กดลิงค์ทำให้หน้าจอปัจจุบันถูกเปลี่ยนจากการรัน Applet
ไปเป็นอย่างอื่น นั่นหมายความว่า เมื่อผู้ใช้กลับมาหน้า Applet อีกครั้ง
มันก็จะเริ่มทำงานใหม่อีกครั้งหรือถูก start ขึ้นใหม่นั่นเอง
(แสดงให้เห็นว่าการเริ่ม Applet
สามารถเกอดขันได้มากกว่าหนึ่งครั้งในช่วงชีวิตของ Applet ) การเขียนทับเมธอด
start() ทำได้ดังนี้ปกติแล้ว Applet
จะเริ่มทำงานหลังจากที่การกำหนดค่าเริ่มต้น แต่การเริ่มของ Applet
นั้นสามารถเกิดขึ้นำด้อีกในกรณีที่ก่อนหน้านี้มันถูกบังคับให้หยุด
หรือผู้ใช้กดลิงค์ทำให้หน้าจอปัจจุบันถูกเปลี่ยนจากการรัน Applet
ไปเป็นอย่างอื่น นั่นหมายความว่า เมื่อผู้ใช้กลับมาหน้า Applet อีกครั้ง
มันก็จะเริ่มทำงานใหม่อีกครั้งหรือถูก start ขึ้นใหม่นั่นเอง
(แสดงให้เห็นว่าการเริ่ม Applet
สามารถเกอดขันได้มากกว่าหนึ่งครั้งในช่วงชีวิตของ Applet ) การเขียนทับเมธอด
start() ทำได้ดังนี้
public class YourApplet extends Applet {
public void start() {
}
}
กระบวนการที่จะใส่ไว้ที่เมธอด start() นี้อาจจะเป็นการส่งข้อความบางอย่าง
เพื่อบอกว่า Applet นี้ยังคงทำงานอยู่
ถ้าไม่จำเป็นต้องทำก็อาจจะไม่ต้องเขียนลงไปก็ได้
เมธอด stop()
การหยุดของ Applet หมายถึง
การที่ผู้ใช้ออกจากหน้าจอปัจจุบันที่กำลังรัน Applet อยู่นั้น หรือการที่
Applet อยู่ตัวมันเองด้วยการเรียกเมธอด stop() โดยตรงมีรูปแบบการใช้ดังนี้
public class YourApplet extends Applet {
public void stop() {
}
}
เมธอด destroy()
เป็นการบอกให้ Applet
ทำการล้างหน่วยความจำต่าง ๆ
ให้เป็นเหมือนก่อนที่มันจะใช้เมื่อทากรปิดบราวเซอร์หรือใช้ทำลายเธรดต่าง ๆ
ที่ยังคงทำงานค้างอยู่
ซึ่งโดยทั่วไปการเขียนโปรแกรมในส่วนนี้อาจจะไม่มีความจำเป็นมาก
นอกเสียจากจะต้องการปลดปล่อยทรัพยากรที่มีจำกัด
public class YourApplet extends Applet {
public void destroy () {
}
}
copy มาจาก http://www.nstlearning.com/~km/?p=4155
Similar topics
» ????สด??ูป? Applet ???าง????
» ??? add ??? Applet ???? Frame
» ???อด ??ัก?อง Applet
» ?????? Applet ??ับ
» ????? Thread ? Applet
» ??? add ??? Applet ???? Frame
» ???อด ??ัก?อง Applet
» ?????? Applet ??ับ
» ????? Thread ? Applet
เธซเธเนเธฒ 1 เธเธฒเธ 1
Permissions in this forum:
เธเธธเธเนเธกเนเธชเธฒเธกเธฒเธฃเธเธเธดเธกเธเนเธเธญเธ